MRSA แผลติดเชื้อรุนแรง แผลไฟไหม้-น้ำร้อนลวก แผลเบาหวาน แผลกดทับ เอนไซม์แก้ไขได้

ทางเลือกใหม่สำหรับผู้ป่วย..
แผลติดเชื้อรุนแรง แผลติดเชื้อดื้อยา
แผลเบาหวาน แผลกดทับ
แผลไฟไหม้-น้ำร้อนลวก แผลหายยาก
ไม่มีผลทำให้ดื้อยา
จากโปรตีนธรรมชาติ...
ด้วยคุณสมบัติพิเศษของโปรตีนธรรมชาติ Lysostaphin+Lysozyme,

Lysostaphin มีฤทธิ์ต่อต้านเชื้อแบคทีเรียได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเฉียบพลันไม่ระคายเคือง เพราะเป็นโปรตีนธรรมชาติ

Lysozyme มีฤทธิ์ย่อยสลายโปรตีนของแบคทีเรีย ช่วยลอกเซลล์ที่ตายออก พร้อมช่วยฟื้นฟูการสร้างเซลล์ผิวใหม่ ไม่ระคายเคือง เพราะเป็นโปรตีนธรรมชาติ แตกต่างจากการใช้สารเคมี


สนใจเพิ่มเติม คลิกที่นี่

วันจันทร์ที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Lysostaphin recombination with Lysozyme

ในปี 1982 ด้วยความพยายามของนักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลี ที่ยยากที่ขะรู้ถึงประสิทธิภาพชอง เอนไซม์ 2 ชนิด คือ Lysostaphin , Lysozyme
จึงได้ทำการศึกษาการต้านทานเชื้อแบคทีเรีย สเตปฟีโลคอคคัล "Staphylococcus"
ซึ่งผลการวิจัยออกมาเป็นที่ประจักษ์ ถึงประสิทธิภาพในการต้านทานเชื้อได้หลากหลายกลุ่ม และมีประสิทธิภาพสูง

The possible mechanisms of lysostaphin potentiation by lysozyme are considered, and the potential use of a lysostaphin-lysozyme combination for topical therapy of staphylococcal infections resistant to other antibiotics is discussed.

Ref: High-Level potentiation of lysostaphin anti-staphylococcal activity by lysozyme


วันพฤหัสบดีที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ผลิตภัณฑ์ ไลโซแคร์ (Products)

กลุ่มผลิตภัณฑ์หลัก :

1. Lyso Care Solution 10 ml (Dropper)
รูปแแบบผลิตภัณฑ์สวยงาม เพิ่มสะดวกและสะอาด ต่อการใช้งาน
วิธีการใช้ เพียงตัดปลายจุกออก แล้วบีบหยดลงบริเวณผิวหนังที่ต้องการให้ทั่ว วันละ 1-2 ครั้ง

2. Lyso Care Solution 50 ml
รูปแบบผลิตภัณฑ์เิปิดใช้สะดวก เหมาะสำหรับต้องการใ้ช้บริเวณพื้นที่มาก
วิธีการใช้ เพียงเปิดขวด แล้วเทบนสำลีสะอาด หรือ ชะโลมบนผิวที่ต้องการให้ทั่ว วันละ 1-2 ครั้ง

3. Lyso Care Enzyme Bio-Pad 14x7 cm.
รูปแแบบผลิตภัณฑ์ เป็นแผ่นปิด Enzyme ทำจากใยไผ่ ไม่มีส่วนประกอบของสารเคมี
ช่วยสร้่างความชุ่มชื่นแก่บริเวณที่ต้องการ
วิธีการใช้ ปิดบริเวณผิวที่ต้องการ เปลี่ยนทุกวันๆละ 1-2 ครั้ง

หมายเหต
เพื่อประสิทธิภาพการใช้ควรใช้ Lyso Care Solution ควบคู่กับ Lyso Care Enzyme Bio-Pad

วันจันทร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2551

เอนไซม์ ช่วยผู้ป่่วยแผลกดทับ และ แผลเรื้อรังได้


จากประสพการณ์ที่เรามีโอกาสได้สัมผัสผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ไม่สามารถช่วยตัวเองได้
โดยมากผู้ป่วยมักจะประสพกับปัญหาแผลกดทับ และอาจทำให้ติดเชื้อเรุนแรงเรื้อรัง จากปัญหาดังกล่าว
อาจทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่เกิดสภาวะ "สิ้นหวัง" ได้ เป็นภาระของผู้ป่วยและ
ผู้ใกล้ชิดรอบข้าง ซึ่งจักต้องค่อยดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ตลอดเวลา

ในปัจจุบัน วิวัฒนาการทางวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว
โดยการนำโปรตีนธรรมชาติมาพัฒนา ในด้านของการรักษา ฟื้นฟู บาดแผลผู้ป่วย

ซึ่งขณะนี้ที่ มหาวิทยาลัียขอนแก่น ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู ให้การยอมรับเทคโนโลยีเอมไซม์บำบัด โดยจักนำไปใช้กับผู้ป่วยแผลกดทับ แผลเบาหวาน แผลเรื้อรัง ต่อไป

วันเสาร์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2551

Wound Care with New Biotechnology @ KhonKaen University


เมื่อวันศุกร์ที่ 20 มิถุนายน 2551 ที่ผ่าน ดร.อัษฎางค์ พลนอก และทีมงานชาว BSK เดินทางไป มหาวิืืทยาลัยขอนแ่ก่น จ.ขอนแก่น เพื่อนำเสนอเทคโลโนยีทางด้าน Bio-Tech ให้แีีด่คณาจารย์แพทย์ และนิสิตแพทย์ ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทย์ศาสตร์
(Department of Physical and Rehabilitation) ซึ่งบรรยายการเต็มไปด้วยสาระดีๆ
พร้อมกันนี้ผลิตภัณฑ์ "ไลโซแคร" ซึ่งมีเอนไซม์ธรรมชาติ ได้รับความสนใจจาก
คณะแพทย์เป็นอย่างดี ซึ่งคณะแพทย์ได้สอบถามข้อสงสัย และพูดคุย เพื่อจักได้นำ เทคโนโลยี เอมไซม์นี้ไปปรับใช้ยังกลุ่มผู้ป่วยแผลเรื้อรัง และกดทับต่อไป.


ภาพบรรยากาศ : Photos

วันศุกร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2551

Lyso Care ร่วมสนับสนุน "ชมรมมนุษย์ล้ออิสาน"


เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2551 ที่ผ่าน ไภษัชเกื้อกูล ได้มีโอกาสร่วมสนับสนุนกิจกรรม"ชมรมมนุษย์ล้ออิสาน"
ณ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น
ซึ่งเราตระหนักเสมอถึงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยที่ดำเนินชีวิตด้วยความยากลำบาก

ซึ่งสมาชิกชมรมดังกล่าวนนอกจากประสพปัญหาทุพลภาพแล้ว
ยังประสพปัญหาเจ็บป่วยเนื่องจาก แผลกดทับ

พร้อมนี้ ไภษัชเกื้อกูล ได้จัดผลิตภัณฑ์ Lyso Care พร้อมมอบเงิน
สนุนกิจกรรมกิจกรรมชมรมมนุษย์ล้ออิสาน ผ่านประธานชมรมฯ ต่อไป

วันพุธที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2551

Lysostaphin stop "Staphylococcus aureus"

Br J Exp Pathol, 1978 Aug, 59(4), 381 - 5
Use of lysostaphin to remove cell-adherent staphylococci during in vitro assays of phagocyte function; Easmon CS et al.; Lysostaphin, a bacteriolytic enzyme, has been used to remove cell-adherent and extracellular Staphylococcus aureus from phagocyte-bacterial mixtures in vitro . Lysostaphin kills S . aureus more rapidly than penicillin, is not toxic for phagocytic cells and, when used for short periods at low concentrations, appears to enter neither human nor mouse mononuclear phagocytes . The use of lysostaphin provides the basis of a simple reliable direct in vitro assay for measuring the attachment and ingestion of S . aureus by phagocytic cells.

Ref: http://www.bionewsonline.com/7/2/staphylococci_g.htm

ประชุมวิชาการพร้อมเยี่ยมชมงาน SHB


ระหว่างวันที่ 2-4 เมษายน 2551 ที่ผ่านมาคณะทำงาน BSK พร้อม ดร.อัษฎางค์ พลนอก หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัด พิษณุโลก ร่วมเดินทางไปเยี่ยมชมกิจการ Shanghai Hi-Tech Bioengineering Co.,Ltd ณ เมืองเซี้ยงไฮ้ ซึ่งเราได้รับการต้อนรับ
อย่างอบอุ่นจากเจ้าหน้าที่นักวิชาการของทางเจ้าภาพ พร้อมความร่วมมือทางวิชาการร่วมกัน ซึ่งทำให้เรามีความเข้าใจในเทคโนโลยีจากผู้ผลิตเป็นอย่างดี
จากข้อมูลและเอกสารต่างๆที่ได้รับที่เป็นที่ประจักษ์ยืนยั้นเป็นอย่างดี
ถึงแม้นว่าเทคโนโลยีนี้จะใหม่สำหรับบ้านเรา แต่ก็ไม่ได้ใหม่ที่สุดจนไม่มีใครรับรู้มาก่อนเพราะคุณลักษณะของสูตร
การผสมของ Enzyme 2 ชนิด ระหว่าง Lysostaphin , Lysozyme มีการทำวิจัยโดยนักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาลีมาตั้งแต่ปี 1981    
และมีการตีพิมพ์เป็นเอกสารทางวิชาการในปี 1982

Ref:เอกสารวิชาทางด้านการค้นการใช้ enzyme ทั้ง2ชนิด